Notice: Undefined index: USERDATA in /home/website/fda.go.th/wp-content/themes/e-school/header.php on line 207
ขอความร่วมมือท่านตอบแบบสำรวจความรอบรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ
เพื่อเป็นตัวแทนในการประเมินระดับความรอบรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ของประเทศ โดยประกอบด้วย 2 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1ข้อมูลทั่วไปผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 7 ข้อ
ส่วนที่ 2 ข้อมูลความรอบรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับบุคคล
จำนวน 40 ข้อ
เมื่อตอบคำถามครบทั้ง 2 ส่วนแล้ว กรุณากดยืนยันการส่งคำตอบ
โดยระบบจะรวบรวมข้อมูลของท่านเพื่อนำไปใช้วิเคราะห์ต่อไป
หลังจากนั้นท่านจะสามารถเข้าใช้งานระบบได้ตามปกติ
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา มีการดำเนินงานโรงเรียน อย.น้อย อย่างต่อเนื่อง และหนึ่งในกลไกสำคัญของการดำเนินงาน คือ การประเมินโรงเรียนตามเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียน อย.น้อย โดยแบ่งเป็น 4 ระดับได้แก่ ระดับพอใช้ ระดับดี ระดับดีมาก และระดับดีเยี่ยม ทั้งนี้ในกระบวนการประเมินต้องขอความอนุเคราะห์ผู้บริหารของหน่วยงานภาคการศึกษาที่รับผิดชอบโรงเรียนในจังหวัดร่วมพิจารณาลงนามให้การรับรองผลโรงเรียนที่ผ่านตามเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียน อย.น้อย ซึ่งที่ผ่านมาการลงข้อมูลตามแบบฟอร์มและการลงนามรับรองจะอยู่ในรูปแบบกระดาษ และขณะนี้สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้จัดทำระบบประเมินอิเล็กทรอนิกส์แทนรูปแบบการประเมินเดิม เพื่อให้หน่วยงานผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ โรงเรียน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและหน่วยงานภาคการศึกษา ในพื้นที่จังหวัด ดำเนินการประเมินโรงเรียนตามเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียน อย.น้อย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ผ่านระบบ FDA center ทาง www.fda.go.th ซึ่งการจะติดตามข้อมูลย้อนหลังผลการดำเนินงานโรงเรียน อย.น้อย ในจังหวัดมหาสารคามนั้นจะต้องมีการสำรวจโรงเรียนที่ได้เข้าร่วมการประเมินโรงเรียน อย.น้อย ที่ผ่านเกณฑ์แต่ละระดับในปีที่ผ่านๆมา และเพื่อเป็นข้อมูลเปรียบเทียบในแต่ละปี
จากความสำคัญของปัญหา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม ได้จัดทำระบบข้อมูลพื้นฐานโรงเรียน อย.น้อย ในจังหวัดมหาสารคาม ให้กับโรงเรียนและเครือข่ายผู้รับผิดชอบงานคุ้มครองผู้บริโภค ได้สำรวจข้อมูลผลการดำเนินกิจกรรมโรงเรียน อย.น้อย ในจังหวัดมหาสารคาม พร้อมทั้งลงข้อมูลการประเมินผลการดำเนินงานโรงเรียน อย.น้อย ให้เป็นปัจจุบัน
ลิงค์ข้อมูล DASHBOARD : https://moph.cc/3cGHYnWrw
เป็นบทเรียนที่มีจุดประสงค์ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้เรียนเกี่ยวกับเรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ โดยมีสื่อความรู้ประเภท สื่อวีดิทัศน์ สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออื่นๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถศึกษาและใช้ในการทำแบบทดสอบออนไลน์
เป็นบทเรียนที่มีจุดประสงค์ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้เรียนเกี่ยวกับเรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ โดยมีสื่อความรู้ประเภท สื่อวีดิทัศน์ สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออื่นๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถศึกษาและใช้ในการทำแบบทดสอบออนไลน์
เป็นบทเรียนที่มีจุดประสงค์ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้เรียนเกี่ยวกับเรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ โดยมีสื่อความรู้ประเภท สื่อวีดิทัศน์ สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออื่นๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถศึกษาและใช้ในการทำแบบทดสอบออนไลน์
เป็นบทเรียนที่มีจุดประสงค์ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้เรียนเกี่ยวกับเรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ โดยมีสื่อความรู้ประเภท สื่อวีดิทัศน์ สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออื่นๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน
เป็นบทเรียนที่มีจุดประสงค์ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้เรียนเกี่ยวกับเรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ โดยมีสื่อความรู้ประเภท สื่อวีดิทัศน์ สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออื่นๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน
หลักสูตรการประเมินและการวิเคราะห์ความเสี่ยง (RA) ซึ่งเป็นกระบวนการวิเคราะห์ถึงปัจจัย หรือสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เป็นสาเหตุทำให้อันตรายที่มีอยู่ และแอบแฝงอยู่ก่อให้เกิดอุบัติภัย และอาจก่อให้เกิดเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ เช่น การเกิดเพลิงไหม้ การระเบิด การรั่วไหลของสารเคมี หรือวัตถุอันตราย โดยพิจารณาถึงโอกาสและความรุนแรงของเหตุการณ์
หลักสูตรการประเมินและการวิเคราะห์ความเสี่ยง (RA) ซึ่งเป็นกระบวนการวิเคราะห์ถึงปัจจัย หรือสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เป็นสาเหตุทำให้อันตรายที่มีอยู่ และแอบแฝงอยู่ก่อให้เกิดอุบัติภัย และอาจก่อให้เกิดเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ เช่น การเกิดเพลิงไหม้ การระเบิด การรั่วไหลของสารเคมี หรือวัตถุอันตราย โดยพิจารณาถึงโอกาสและความรุนแรงของเหตุการณ์
เว็บไซต์ FDA Center ปิดปรับปรุง
ตั้งแต่วันที่ 13 ก.พ. 2567 เวลา 00:00 น
จนถึงวันที่ 14 ก.พ. 2567 เวลา 23:00 น
โดยผู้ใช้งานจะไม่สามารถใช้งานได้ ในช่วงเวลาดังกล่าว
ขออภัยในความไม่สะดวก