Notice: Undefined index: USERDATA in /home/website/fda.go.th/wp-content/themes/e-school/header.php on line 207
ขอความร่วมมือท่านตอบแบบสำรวจความรอบรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ
เพื่อเป็นตัวแทนในการประเมินระดับความรอบรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ของประเทศ โดยประกอบด้วย 2 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1ข้อมูลทั่วไปผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 7 ข้อ
ส่วนที่ 2 ข้อมูลความรอบรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับบุคคล
จำนวน 40 ข้อ
เมื่อตอบคำถามครบทั้ง 2 ส่วนแล้ว กรุณากดยืนยันการส่งคำตอบ
โดยระบบจะรวบรวมข้อมูลของท่านเพื่อนำไปใช้วิเคราะห์ต่อไป
หลังจากนั้นท่านจะสามารถเข้าใช้งานระบบได้ตามปกติ
หลายต่อหลายคนมักสับสน ระหว่าง “ยาแก้อักเสบ” กับ “ยาปฏิชีวนะ” ว่าใช่ยาชนิดเดียวกันหรือไม่ และฆ่าเชื้ออะไรได้บ้าง ศูนย์บริการข้อมูลข่าวสารด้านยา โรงพยาบาลเวชธานี จะพามาไขคำตอบนี้กัน
ยาปฏิชีวนะ (Antibiotics หรือ Antibacterial) หมายถึง สารเคมีที่ได้จากเชื้อจุลชีพชนิดหนึ่งตามธรรมชาติ หรือ จากการสังเคราะห์ ใช้รักษาการติดเชื้อแบคทีเรียเท่านั้น ส่วนการติดเชื้อชนิดอื่น เช่น ไวรัส เชื้อรา ไม่สามารถใช้ยาปฏิชีวนะรักษาได้
ยาแก้อักเสบ หรือ ยาต้านการอักเสบ (Anti-Inflammatory Drugs) หมายถึง ยาที่มีฤทธิ์ลดการอักเสบ ได้แก่ อาการปวด อาการบวมแดง และไข้ โดยไม่มีฤทธิ์ใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการฆ่าเชื้อจุลชีพ เช่น ยาไอบูโพรเฟ่น ยาไดโครฟีแนค และยาแอสไพริน เป็นต้น
จากข้อมูลข้างต้น บ่งชี้ได้ว่า ยาปฏิชีวนะ ต้องใช้กับโรคที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อแบคทีเรีย โดยโรคติดเชื้อแบคทีเรียที่พบบ่อยในประเทศไทย ได้แก่
3 ข้อสำคัญ ในการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างถูกวิธี : เมื่อจำเป็นต้องใช้ยาปฏิชีวนะเพื่อรักษาโรค สิ่งสำคัญที่ต้องคำนึงถึงมากที่สุด คือการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างถูกวิธี โดยต้องยึดหลัก 3 ประการนี้ในการใช้ยา
แบคทีเรีย เป็นสิ่งมีชีวิตที่สามารถพัฒนาตัวเอง เพื่อป้องกันการถูกทำลายจากยาปฏิชีวนะ ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาผนังเซลล์ให้หนาขึ้น สร้างตัวปั้มเพื่อปั้มยาออกจากเซลล์ หรือสร้างตัวรับยาหลอก ๆ ให้ยาไม่สามารถออกฤทธิ์ต่อเซลล์ได้
ดังนั้น หากรับประทานยาปฏิชีวนะไม่ต่อเนื่อง ผิดขนาด หรือใช้ยาปฏิชีวนะพร่ำเพรื่อ กลับกลายเป็นว่า ปริมาณยาไม่เพียงพอที่จะฆ่าเชื้อให้ตายได้ แต่พอที่จะกระตุ้นให้เชื้อพัฒนาตัวเอง และดื้อยาในที่สุด ซึ่งในวงการสาธารสุข ทั้งในประเทศไทย และองค์การอนามัยโลก (WHO) ต่างให้ความตระหนักถึงเรื่องนี้ เพราะการเกิดเชื้อดื้อยาถือเป็นปัญหาระดับโลก และหากยังใช้ยาปฏิชีวนะผิดวิธีต่อไป ในอนาคตอาจเกิดปัญหาเชื้อแบคทีเรียดื้อต่อยาทุกชนิด และไม่สามารถรักษาได้
โดยปกติแล้วเชื้อที่ก่อโรคติดเชื้อทางเดินหายใจกว่า 80% มักเป็นเชื้อไวรัส เช่น ไข้หวัด เจ็บคอ น้ำมูกไหล ไข้ ดังนั้นการใช้ยาปฏิชีวนะในการติดเชื้อไวรัส จะไม่เกิดประโยชน์อันใดในการรักษาโรค นอกจากนี้ ยังก่อให้เกิดความเสี่ยงทำให้เชื้อแบคทีเรียดื้อยา และเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยา เช่น ท้องเสีย เนื่องจากยาปฏิชีวนะฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่มีประโยชน์ในร่างกาย ภาวะภูมิคุ้มกันต่ำทำให้ติดเชื้อได้ง่าย และแพ้ยา เป็นต้น
ดังนั้น ก่อนรับประทานยาปฏิชีวนะ ควรปรึกษาแพทย์เพื่อให้ได้รับการวินิจฉัยแยกโรคติดเชื้อที่ถูกต้อง หรือปรึกษาเภสัชกรก่อนซื้อยาปฏิชีวนะมารับประทานเอง
เมื่อทราบดังนี้แล้ว หากเกิดอาการเจ็บคอ เสียงแหบ น้ำมูกไหล มีไข้ต่ำ ๆ จึงสันนิฐานได้ว่าเกิดจากเชื้อไวรัส การดูแลตนเองเบื้องต้น เพียงแค่พักผ่อนทำร่างกายให้อบอุ่น ดื่มน้ำให้เพียงพอ รับประทานอาหารที่ปรุงสุก ร่างกายของเราก็จะสร้างภูมิคุ้มกันมาต่อสู้กับเชื่อไวรัสเหล่านั้นได้โดยไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ ตามสโลแกนของโครงการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุสมผล (Antibiotics Smart Use Program) ของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา “ใช้ยาสมเหตุผล ไม่จน ไม่แพ้ ไม่ดื้อยา”
แหล่งที่มา : https://www.vejthani.com/th/2018/04/antibiotic-smart-use
เป็นบทเรียนที่มีจุดประสงค์ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้เรียนเกี่ยวกับเรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ โดยมีสื่อความรู้ประเภท สื่อวีดิทัศน์ สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออื่นๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถศึกษาและใช้ในการทำแบบทดสอบออนไลน์
เป็นบทเรียนที่มีจุดประสงค์ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้เรียนเกี่ยวกับเรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ โดยมีสื่อความรู้ประเภท สื่อวีดิทัศน์ สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออื่นๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถศึกษาและใช้ในการทำแบบทดสอบออนไลน์
เป็นบทเรียนที่มีจุดประสงค์ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้เรียนเกี่ยวกับเรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ โดยมีสื่อความรู้ประเภท สื่อวีดิทัศน์ สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออื่นๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถศึกษาและใช้ในการทำแบบทดสอบออนไลน์
เป็นบทเรียนที่มีจุดประสงค์ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้เรียนเกี่ยวกับเรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ โดยมีสื่อความรู้ประเภท สื่อวีดิทัศน์ สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออื่นๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน
เป็นบทเรียนที่มีจุดประสงค์ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้เรียนเกี่ยวกับเรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ โดยมีสื่อความรู้ประเภท สื่อวีดิทัศน์ สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออื่นๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน
หลักสูตรการประเมินและการวิเคราะห์ความเสี่ยง (RA) ซึ่งเป็นกระบวนการวิเคราะห์ถึงปัจจัย หรือสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เป็นสาเหตุทำให้อันตรายที่มีอยู่ และแอบแฝงอยู่ก่อให้เกิดอุบัติภัย และอาจก่อให้เกิดเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ เช่น การเกิดเพลิงไหม้ การระเบิด การรั่วไหลของสารเคมี หรือวัตถุอันตราย โดยพิจารณาถึงโอกาสและความรุนแรงของเหตุการณ์
หลักสูตรการประเมินและการวิเคราะห์ความเสี่ยง (RA) ซึ่งเป็นกระบวนการวิเคราะห์ถึงปัจจัย หรือสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เป็นสาเหตุทำให้อันตรายที่มีอยู่ และแอบแฝงอยู่ก่อให้เกิดอุบัติภัย และอาจก่อให้เกิดเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ เช่น การเกิดเพลิงไหม้ การระเบิด การรั่วไหลของสารเคมี หรือวัตถุอันตราย โดยพิจารณาถึงโอกาสและความรุนแรงของเหตุการณ์
เว็บไซต์ FDA Center ปิดปรับปรุง
ตั้งแต่วันที่ 13 ก.พ. 2567 เวลา 00:00 น
จนถึงวันที่ 14 ก.พ. 2567 เวลา 23:00 น
โดยผู้ใช้งานจะไม่สามารถใช้งานได้ ในช่วงเวลาดังกล่าว
ขออภัยในความไม่สะดวก