Notice: Undefined index: USERDATA in /home/website/fda.go.th/wp-content/themes/e-school/header.php on line 207
ขอความร่วมมือท่านตอบแบบสำรวจความรอบรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ
เพื่อเป็นตัวแทนในการประเมินระดับความรอบรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ของประเทศ โดยประกอบด้วย 2 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1ข้อมูลทั่วไปผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 7 ข้อ
ส่วนที่ 2 ข้อมูลความรอบรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับบุคคล
จำนวน 40 ข้อ
เมื่อตอบคำถามครบทั้ง 2 ส่วนแล้ว กรุณากดยืนยันการส่งคำตอบ
โดยระบบจะรวบรวมข้อมูลของท่านเพื่อนำไปใช้วิเคราะห์ต่อไป
หลังจากนั้นท่านจะสามารถเข้าใช้งานระบบได้ตามปกติ
วัยทารก
แรกเกิด – 6 เดือน นมแม่เป็นอาหารที่ดีที่สุดสำหรับวัยนี้ เพราะนมแม่มีสารอาหารที่ทารกต้องการอย่างครบถ้วน แต่ถ้าอายุครบ 6 เดือน เข้าสู้ช่วงหย่านม อาจเริ่มให้อาหารบดทีละชนิดเพื่อให้รู้จักการบดเคี้ยว ติดตามดูอาการแพ้ของอาหารชนิดต่างๆ ไม่ควรเติมเกลือ น้ำตาลและสารปรุงรสเพื่อไม่ให้เด็กติดหวานและเค็ม สามารถให้นมแม่หรือนมผงสำหรับเด็กทารกไปพร้อมกับการให้อาหารอื่นๆได้
วัยเด็ก
เด็กวัยก่อนเรียน อายุ 1-5 ปี ยังไม่สามารถรับประทานอาหารได้เยอะมากนัก ควรป้อนอาหารเป็นมื้อเล็กๆ และของว่างที่มีประโยชน์ ฝึกให้เด็กกินผักโดยอาจจะหั่นเป็นชิ้นเล็กสอดแทรกลงไปในอาหารให้มีสีสันสวยงาม น่ารับประทาน ฝึกให้เด็กหยิบจับอาหารด้วยตัวเอง
เด็กวัยเรียน อายุ 6 – 12 ปี ควรให้ความสำคัญกับอาหารเช้า รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ วัยนี้มักจะเลือกอาหารที่เข้าถึงได้ง่ายที่มีขายอยู่ทั้งในและนอกโรงเรียน หรือใกล้ที่พักอาศัย ควรมีการให้ความรู้ทางโภชนาการและปลูกฝังพฤติกรรมทการบริโภคอาหารที่เหมาะสม
ควรให้เด็กได้บริโภคนมและผลิตภัณฑ์จากนมเพื่อให้ได้รับโปรตีนและแคลเซียม นำไปใช้ในการเจริญเติบโตของร่างกาย เสริมสร้างกระดูกและฟัน ซึ่งนมที่เหมาะสมสำหรับเด็ก คือ นมครบส่วน หรือนมไขมันเต็มเพราะให้พลังงานที่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย แต่ควรเป็นนมรสจืดที่ไม่ปรุงรส
วัยรุ่น
วัยนี้สามารถรับประทานอาหารได้มาก เพราะมีการเจริญเติบโตของร่างกายอย่างรวดเร็ว ต้องการอาหารที่มีพลังงานสูงแต่ให้คุณค่าทางโภชนาการครบถ้วน วัยรุ่นมักจะให้ความสำคัญกับรูปร่างและสัดส่วนของร่างกายซึ่งไม่ควรใช้วิธีการอดอาหารเพื่อลดน้ำหนัก แต่ควรใช้วิธีการรับประทานอาหารให้ถูกสัดส่วนและออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
วัยผู้ใหญ่
อาหารสำคัญของคนวัยนี้ควรเลือกอาหารที่มีเส้นใยสูง เช่น ผักและผลไม้ ข้าว/แป้งที่ไม่ผ่านกระบวนการขัดสี ได้แก่ ข้าวกล้อง ขนมปังโฮลต์วีต และธัญพืชต่างๆ รับประทานอาหารที่ให้โปรตีนพอประมาณ เช่น เนื้อสัตว์ นม ไข่และถั่วต่างๆ สิ่งสำคัญที่สุด คือ การควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในช่วงที่เหมาะสมกับส่วนสูงของตยอง
ผู้สูงอายุ
วัยนี้จะมีการเสื่อมถอยของร่างกาย ดังนั้นควรรับประทานอาหารที่ย่อยง่ายและให้คุณค่าทางโภชนาการสูง เลือกโปรตีนคุณภาพดีจากไข่ ปลา และเนื้อสัตว์ไขมันต่ำ เสริมสร้างกระดูกด้วยนมและผลิตภัณฑ์จากนม ปลาเล็กปลาน้อย งาดำ เต้าหู้แข็ง และผักใบสีเขียวเข้ม
เป็นบทเรียนที่มีจุดประสงค์ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้เรียนเกี่ยวกับเรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ โดยมีสื่อความรู้ประเภท สื่อวีดิทัศน์ สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออื่นๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถศึกษาและใช้ในการทำแบบทดสอบออนไลน์
เป็นบทเรียนที่มีจุดประสงค์ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้เรียนเกี่ยวกับเรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ โดยมีสื่อความรู้ประเภท สื่อวีดิทัศน์ สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออื่นๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถศึกษาและใช้ในการทำแบบทดสอบออนไลน์
เป็นบทเรียนที่มีจุดประสงค์ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้เรียนเกี่ยวกับเรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ โดยมีสื่อความรู้ประเภท สื่อวีดิทัศน์ สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออื่นๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถศึกษาและใช้ในการทำแบบทดสอบออนไลน์
เป็นบทเรียนที่มีจุดประสงค์ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้เรียนเกี่ยวกับเรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ โดยมีสื่อความรู้ประเภท สื่อวีดิทัศน์ สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออื่นๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน
เป็นบทเรียนที่มีจุดประสงค์ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้เรียนเกี่ยวกับเรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ โดยมีสื่อความรู้ประเภท สื่อวีดิทัศน์ สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออื่นๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน
หลักสูตรการประเมินและการวิเคราะห์ความเสี่ยง (RA) ซึ่งเป็นกระบวนการวิเคราะห์ถึงปัจจัย หรือสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เป็นสาเหตุทำให้อันตรายที่มีอยู่ และแอบแฝงอยู่ก่อให้เกิดอุบัติภัย และอาจก่อให้เกิดเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ เช่น การเกิดเพลิงไหม้ การระเบิด การรั่วไหลของสารเคมี หรือวัตถุอันตราย โดยพิจารณาถึงโอกาสและความรุนแรงของเหตุการณ์
หลักสูตรการประเมินและการวิเคราะห์ความเสี่ยง (RA) ซึ่งเป็นกระบวนการวิเคราะห์ถึงปัจจัย หรือสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เป็นสาเหตุทำให้อันตรายที่มีอยู่ และแอบแฝงอยู่ก่อให้เกิดอุบัติภัย และอาจก่อให้เกิดเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ เช่น การเกิดเพลิงไหม้ การระเบิด การรั่วไหลของสารเคมี หรือวัตถุอันตราย โดยพิจารณาถึงโอกาสและความรุนแรงของเหตุการณ์
เว็บไซต์ FDA Center ปิดปรับปรุง
ตั้งแต่วันที่ 13 ก.พ. 2567 เวลา 00:00 น
จนถึงวันที่ 14 ก.พ. 2567 เวลา 23:00 น
โดยผู้ใช้งานจะไม่สามารถใช้งานได้ ในช่วงเวลาดังกล่าว
ขออภัยในความไม่สะดวก