Notice: Undefined index: USERDATA in /home/website/fda.go.th/wp-content/themes/e-school/header.php on line 207
ขอความร่วมมือท่านตอบแบบสำรวจความรอบรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ
เพื่อเป็นตัวแทนในการประเมินระดับความรอบรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ของประเทศ โดยประกอบด้วย 2 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1ข้อมูลทั่วไปผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 7 ข้อ
ส่วนที่ 2 ข้อมูลความรอบรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับบุคคล
จำนวน 40 ข้อ
เมื่อตอบคำถามครบทั้ง 2 ส่วนแล้ว กรุณากดยืนยันการส่งคำตอบ
โดยระบบจะรวบรวมข้อมูลของท่านเพื่อนำไปใช้วิเคราะห์ต่อไป
หลังจากนั้นท่านจะสามารถเข้าใช้งานระบบได้ตามปกติ
โรคหวัดเจ็บคอ...ต้องกินยาปฏิชีวนะหรือไม่
1. หลายคนเข้าใจผิด คิดว่าเป็นหวัดเจ็บคอต้องกินยาปฏิชีวนะหรือยาฆ่าเชื้อนั้น เป็นความเชื่อที่ผิด
2. หวัดเกิดจากเชื้อไวรัส แต่ยาปฏิชีวนะใช้ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย การกินยาปฏิชีวนะเพื่อรักษาโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส เช่น โรคหวัดเจ็บคอ ไข้หวัดใหญ่ จึงเป็นการใช้ยาไม่ถูกกับโรค
3. หวัดเจ็บคอ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 80) เกิดจากเชื้อไวรัส จึงไม่ต้องกินยาปฏิชีวนะ
4. วิธีรักษาที่ดีที่สุด คือ ดื่มน้ำอุ่นและพักผ่อนให้เพียงพอ ภูมิต้านทานของร่างกายจะทำลายเชื้อไวรัสเอง
5. หากเป็นหวัดเจ็บคอ ร่วมกับอาการ 3 ใน 4 ได้แก่ ไม่มีอาการไอ มีไข้สูง (มากกว่า 38 องศาเซลเซียส) มีจุดขาวหรือตุ่มหนองที่ต่อมทอนซิล และต่อมน้ำเหลืองใต้ขากรรไกรบวมโต กดเจ็บ ควรพบแพทย์ เพราะอาจเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
อาการท้องเสีย อาหารเป็นพิษ...ยาปฏิชีวนะช่วยได้ไหม
- ยาปฏิชีวนะใช้ได้ผลกับอาการท้องเสียที่เกิดจากแบคทีเรียเท่านั้น แต่อาการท้องเสียที่พบบ่อย (มากกว่า 99 %) เกิดจากอาหารเป็นพิษ หรือติดเชื้อไวรัส ซึ่งหายได้เอง ยาปฏิชีวนะใช้ไม่ได้ผล
- วิธีรักษาที่ดีที่สุดคือ ดื่มน้ำเกลือแร่ กินอาหารอ่อนๆ งดอาหารรสจัดหรือย่อยยาก
เป็นแผลเลือดออก
- ยาปฏิชีวนะไม่ช่วยป้องกันการติดเชื้อในบาดแผลเลือดออกทั่วไป และไม่ช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น
- อย่านำยาเม็ดปฏิชีวนะไปบดเป็นผงหรือแกะแคปซูลแล้วโรยแผล เพราะผงยาอาจ
ไม่สะอาด และปิดกั้นการระบายอากาศ อาจทำให้แผลติดเชื้อหรือเน่าได้
- ถ้าแผลไม่สัมผัสสิ่งสกปรก ล้างแผลอย่างถูกวิธี รักษาความสะอาดของแผลให้ดี เพียงเท่านี้แผลก็หายเองได้ แต่ถ้ามีโรคประจำตัว (เช่น เบาหวาน) หรือถ้าแผลบวม อักเสบ กรณีนี้ต้องรีบไปหาหมอเพื่อรับยาปฏิชีวนะ
เป็นบทเรียนที่มีจุดประสงค์ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้เรียนเกี่ยวกับเรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ โดยมีสื่อความรู้ประเภท สื่อวีดิทัศน์ สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออื่นๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถศึกษาและใช้ในการทำแบบทดสอบออนไลน์
เป็นบทเรียนที่มีจุดประสงค์ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้เรียนเกี่ยวกับเรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ โดยมีสื่อความรู้ประเภท สื่อวีดิทัศน์ สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออื่นๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถศึกษาและใช้ในการทำแบบทดสอบออนไลน์
เป็นบทเรียนที่มีจุดประสงค์ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้เรียนเกี่ยวกับเรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ โดยมีสื่อความรู้ประเภท สื่อวีดิทัศน์ สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออื่นๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถศึกษาและใช้ในการทำแบบทดสอบออนไลน์
เป็นบทเรียนที่มีจุดประสงค์ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้เรียนเกี่ยวกับเรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ โดยมีสื่อความรู้ประเภท สื่อวีดิทัศน์ สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออื่นๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน
เป็นบทเรียนที่มีจุดประสงค์ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้เรียนเกี่ยวกับเรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ โดยมีสื่อความรู้ประเภท สื่อวีดิทัศน์ สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออื่นๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน
หลักสูตรการประเมินและการวิเคราะห์ความเสี่ยง (RA) ซึ่งเป็นกระบวนการวิเคราะห์ถึงปัจจัย หรือสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เป็นสาเหตุทำให้อันตรายที่มีอยู่ และแอบแฝงอยู่ก่อให้เกิดอุบัติภัย และอาจก่อให้เกิดเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ เช่น การเกิดเพลิงไหม้ การระเบิด การรั่วไหลของสารเคมี หรือวัตถุอันตราย โดยพิจารณาถึงโอกาสและความรุนแรงของเหตุการณ์
หลักสูตรการประเมินและการวิเคราะห์ความเสี่ยง (RA) ซึ่งเป็นกระบวนการวิเคราะห์ถึงปัจจัย หรือสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เป็นสาเหตุทำให้อันตรายที่มีอยู่ และแอบแฝงอยู่ก่อให้เกิดอุบัติภัย และอาจก่อให้เกิดเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ เช่น การเกิดเพลิงไหม้ การระเบิด การรั่วไหลของสารเคมี หรือวัตถุอันตราย โดยพิจารณาถึงโอกาสและความรุนแรงของเหตุการณ์
เว็บไซต์ FDA Center ปิดปรับปรุง
ตั้งแต่วันที่ 13 ก.พ. 2567 เวลา 00:00 น
จนถึงวันที่ 14 ก.พ. 2567 เวลา 23:00 น
โดยผู้ใช้งานจะไม่สามารถใช้งานได้ ในช่วงเวลาดังกล่าว
ขออภัยในความไม่สะดวก